วันเสาร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2556
สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการดูโทรทัศน์ครู
สอนปฐมวัยด้วยธรรมชาติผสานวิถีพุทธ
มาทาลโปรแกรม เป็นนวัตกรรมการสอนวิทยาศาสตร์แบบธรรมชาติ
เด็ก ๆ จะได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านกิจกรรมการสร้างชุมชนในฝัน
กิจกรรมนี้เด็กจะได้ทั้งทักษะการสังเกต
และการเชื่อมโยงความรู้กับสิ่งที่อยู่รอบตัว
จนสามารถสังเคราะห์ความรู้สร้างสรรค์ออกมาเป็นชิ้นงานของตนเองได้ในที่สุด
|
Week18
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 18
วันพุธ ที่ 29 กันยายน 2556 (เช้า)
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
"เรียนชดเชย"
1.นำเสนอการทดลองทางวิทยาศาสตร์
2.ส่งชิ้นงานทุกชิ้น
-สื่อเข้ามุมวิทยาศาสตร์
-ของเล่นทางวิทยาศาสตร์
สิ่งประดิษฐ์ของเล่นทางวิทยาศาสตร์
หมายเหตุ : รายละเอียดและวิธีการทำอยู่ในสัปดาห์ที่ 5
สิ่งประดิษฐ์สื่อเข้ามุมทางวิทยาศาสตร์
หมายเหตุ : รายละเอียดและวิธีการทำอยู่ในสัปดาห์ที่ 6
การนำเสนอการทดลองวทยาศาสตร์"นักสืบลายนิ้วมือ"
หมายเหตุ : รายละเอียดและวิธีการทำอยู่ในสัปดาห์ที่ 6
วันศุกร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2556
Week14
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 14
วันพุธ ที่ 11 กันยายน 2556 (เช้า)
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
**ไม่มีการเรียนการสอน เนื่่องจากอาจารย์ติดภาระกิจราชการ**
Week13
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 13
วันพุธ ที่ 4 กันยายน 2556 (เช้า)
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
**ไม่มีการเรียนการสอน เนื่่องจากอาจารย์ติดภาระกิจราชการ**
วันเสาร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2556
Week11
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 11
วันพุธ ที่ 21 สิงหาคม 2556 (เช้า)
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
*ไม่มีการเรียน การสอน*
ผู้สอนได้มอบหมายให้ทำงาน ดังนี้
-ตรวจสอบ จัดตกแต่ง อัพเดทข้อมูลในบล็อกของตนเองให้เรียบร้อย
- ศึกษาข้อมูลโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา เพื่อที่จะเดินทางไปศึกษาดูงาน ในวันที่ 27-28 สิงหาคม 2556
Week10
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 10
วันพุธ ที่ 14 สิงหาคม 2556 (เช้า)
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
**อาจารย์ แจกแจงรายละเอียดการไปศึกษาดูงาน ณ โรงเรียน สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และโรงเรียน ลำปลายมาศพัฒนา จังหวัดบุรรัมย์ ในวันที่ 27-28 สิงหาคม 2556
รวมไปถึงการแจ้งหน้าที่ที่แต่ละคนได้รับ เพื่อจัดเตรียมข้อมูลต่างๆในการศึกษาดูงาน
Week9
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 9
วันพุธ ที่ 7 สิงหาคม 2556 (เช้า)
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เข้าฟังสัมนา โครงการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม
นักศึกษาสาขา การศึกษาปฐมวัย
โครงการ "กายงาม ใจดี ศรีปฐมวัย"
Week7
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 7
วันพุธ ที่ 24 กรกฎาคม 2556 (เช้า)
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
กระบวนทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก
กระบวนการเบื้องต้น
1. ทักษะการคำนวณ
2. ทักษะการจําแนกประเภท
3. ทักษะการวัด
4. ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา
กระบวนการผสม
1.ตั้งสมมติฐาน
2.ลงมือปฏิบัติ
3.ควบคุมตัวแปร
4.การทดลอง
5.ตีความ,สรุป
วิธีการจัด
1.จัดเป็นทางการ
2.จัดไม่เป็นทางการ
3.จัดตามเหตุการณ์
วิธีการเลือกใช้สื่อ
1.เหมาะสมกับหน่วย
2.เหมาะสมกับพัฒนาการ
3.เหมาะสมกับเวลาและสถานที่
4.กิจกรรมที่จัดมีความเหมาะสมกับเด็ก
5.เตรียมอุปกรณ์และทดลองใช้
วันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
Week6
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 6
วันพุธ ที่ 17 กรกฎาคม 2556 (เช้า)
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วัสดุและอุปกรณ์
1. ผงคาร์บอน
หรือผงที่ได้จากการฝนดินสอ หรือถ่าน
2. เทปใสขนาดประมาณ 1นิ้ว
3. พู่กัน แบน
4. กระดาษขาว
4. กระดาษขาว
5. กระจกใส
วิธีทดลอง
1. ประทับรอยนิ้วมือลงบนกระจกใส
2. นำผงคาร์บอน มาโรยบริเวณนั้นให้ทั่วแล้วใช้แปรงพู่กันปัดออกเบาๆ
ก็จะมองเห็น ลายนิ้วมือขึ้นมาทันที
3. นำเทปใสขนาดประมาณ 1 นิ้ว มาแปะทับรอยนิ้วมือดังกล่าวแล้วดึงขึ้นมา รอยนิ้วมือ
4. จะติดอยู่ที่ผ้าเทปนั้น
5. นำเทปใสมาแปะลงกระดาษขาว
ก็จะได้รอยนิ้วมือเพื่อไปทำการตรวจสอบหาเจ้าของต่อไป
สาเหตุ เพราะโมเลกุลของผงคาร์บอนที่พรมลงไปนั้น
ไปเกาะกันกับลายนิ้วมือที่มีน้ำเยื่อนิ้วมืออยู่ จึงทำให้ลายนิ้วมือปรากฏขึ้น
เล่นตามมุม
อุปกรณ์
ถั่วเขียว ขวดโหล น้ำ สำลี
ขั้นตอนการทำ
1.
นำถั่วเขียวไปล้างให้สะอาด
2.
นำถั่วเขียวใส่ลงไปในขวดโหล
จากนั้นเทน้ำใส่ลงไปให้ท่วมถั่วเขียว แช่ถั่วเขียวในน้ำ1ชั่วโมง
3. นำถั่วเขียวที่แช่น้ำแล้วไปเพาะไว้กับสำลีที่อยู่ในโหล และพรมน้ำให้ชุ่ม
4. เพาะถั่วเขียวทิ้งไว้6-8ชั่วโมงรากเล็กๆจะงอกออกมา
3. นำถั่วเขียวที่แช่น้ำแล้วไปเพาะไว้กับสำลีที่อยู่ในโหล และพรมน้ำให้ชุ่ม
4. เพาะถั่วเขียวทิ้งไว้6-8ชั่วโมงรากเล็กๆจะงอกออกมา
สิ่งที่ได้เรียนรู้
1.การนำถั่วเขียวไปแช่น้ำก่อน 1 คืนเพื่อให้เปลือกของเมล็ดถั่วเขียวอ่อนตัวลงและกระตุ้นให้รากแรกเกิดงอกออกมาได้ง่าย
2.การเปลี่ยนแปลงจากเม็ดถั่วสีเขียวกลายเป็นถั่วงอกตัวยาวสีขาว
Week5
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 5
วันพุธ ที่ 10 กรกฎาคม 2556 (เช้า)
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ความรู้ที่ได้รับ
อุปกรณ์ กระดาษ โฟม หลอดดูดน้ำแบบงอ ลูกโป่ง สก๊อตเทป
ฝาขวด ไม้เสียบลูกชิ้น กาว หนังยาง
วิธีทำ
- นำโฟมมาตัดเป็นตัวรถและล้อรถ
- นำไม้เสียบลูกชิ้นมาเสียบล้อ แล้วนำไปเสียบที่ตัวรถ
- นำรถไปตกแต่งตามใจชอบ แล้วนำลูกโป่งไปผูกกับปลายหลอดด้านที่งอ แล้วนำไปติดไว้ด้านบนตัวรถ
- วิธีเล่นคือเป่าลูกโป่งให้พองตัวพอประมาณแล้วปล่อยให้รถวิ่งออกไป
ประโยชน์เด็กได้ทราบถึงเรื่องแรงดันอากาศเหตุที่ทำให้รถแล้นออกไปได้ เพราะเมื่ออากาศถูกปล่อยจากลูกโป่งทางด้านบนของรถ ทำให้เกิดแรงในทิศทางตรงกันข้ามซึ่งมีมากพอ ที่สามารถจะเอาชนะแรงเสียดทานของล้อรถกับพื้นจึงทำให้รถเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้
วันเสาร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
Week 4.
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 4
วันพุธ ที่ 3 กรกฎาคม 2556 (เช้า)
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ความรู้ที่ได้รับ
-การให้เด็กลงมือกระทำโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 สามารถทำให้เด็กได้รับรู้ดูดซึมเก็บประสบการณ์ไว้ในสมอง
เมื่อมีสิ่งใหม่เข้ามาก็จะเกิดกระบวนการคิด
ทำให้เกิดความรู้ใหม่และทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้
-วิทยาศาสตร์ คือ สิ่งที่อยู่รอบๆตัว
กิจกรรมในห้อง
ดู VDO มหัศจรรย์ของน้ำ
ความรู้ที่ได้รับ
–สิ่งต่างๆบนโลกมีน้ำเป็นส่วนประกอบ
มนุษย์มีน้ำอยู่ในร่างกาย 70% ผลไม้มีน้ำอยู่ 90%
-การทดลอง การระหายของน้ำ การตกปลาน้แข็ง
แรงตึงของผิวน้ำ
การบ้าน
-หาของเล่นที่เด็กสามารถเล่นและทำได้ง่าย จากนั้นร่างแบบมาส่ง
-หาประโยชน์จากการเล่นของเล่นที่เรานำมา
สาเหตุที่ฝนตก
ฝนชนิดต่างๆ จัดแบ่งตามสาเหตุที่ทำให้เกิดฝน คือ
1. ฝนเกิดจากการพาความร้อน (convective storm) มวลอากาศร้อนลอยตัวสูงขึ้น
2. ฝนภูเขา (orographic storm) มวลอากาศที่อุ้มไอน้ำพัดจากทะเล ปะทะภูเขา จะลอยตัวสูงขึ้น
3. ฝนพายุหมุน (cyclonic storm) ความกดอากาศสูงเคลื่อนไปสู่บริเวณความกดอากาศต่ำ
มวลอากาศในบริเวณความกดอากาศต่ำลอยตัวสูงขึ้น
4. ฝนในแนวอากาศ (frontal storm) มวลอากาศร้อนปะทะมวลอากาศที่มีอุณหภูมิเย็น มวลอากาศร้อนลอยตัวสูงขึ้น
การเปลี่ยนสถานะของน้ำ
แรงดันน้ำ
เรานำความรู้เกี่ยวกับความดันของน้ำไปใช้ประโยชน์
เช่น การสร้างเขื่อน ต้องสร้างให้ฐานเขื่อนมีความกว้างมากกว่าสันเขื่อน
เพราะแรงดันของน้ำบริเวณฐานเขื่อนมากกว่าแรงดันของน้ำบริเวณสันเขื่อน
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 4
วันพุธ ที่ 3 กรกฎาคม 2556 (เช้า)
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ความรู้ที่ได้รับ
-การให้เด็กลงมือกระทำโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 สามารถทำให้เด็กได้รับรู้ดูดซึมเก็บประสบการณ์ไว้ในสมอง
เมื่อมีสิ่งใหม่เข้ามาก็จะเกิดกระบวนการคิด
ทำให้เกิดความรู้ใหม่และทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้
-วิทยาศาสตร์ คือ สิ่งที่อยู่รอบๆตัว
กิจกรรมในห้อง
ดู VDO มหัศจรรย์ของน้ำ
ความรู้ที่ได้รับ
–สิ่งต่างๆบนโลกมีน้ำเป็นส่วนประกอบ
มนุษย์มีน้ำอยู่ในร่างกาย 70% ผลไม้มีน้ำอยู่ 90%
-การทดลอง การระหายของน้ำ การตกปลาน้แข็ง
แรงตึงของผิวน้ำ
การบ้าน
-หาของเล่นที่เด็กสามารถเล่นและทำได้ง่าย จากนั้นร่างแบบมาส่ง
-หาประโยชน์จากการเล่นของเล่นที่เรานำมา
สาเหตุที่ฝนตก
ฝนชนิดต่างๆ จัดแบ่งตามสาเหตุที่ทำให้เกิดฝน คือ
1. ฝนเกิดจากการพาความร้อน (convective storm) มวลอากาศร้อนลอยตัวสูงขึ้น
2. ฝนภูเขา (orographic storm) มวลอากาศที่อุ้มไอน้ำพัดจากทะเล ปะทะภูเขา จะลอยตัวสูงขึ้น
3. ฝนพายุหมุน (cyclonic storm) ความกดอากาศสูงเคลื่อนไปสู่บริเวณความกดอากาศต่ำ
มวลอากาศในบริเวณความกดอากาศต่ำลอยตัวสูงขึ้น
4. ฝนในแนวอากาศ (frontal storm) มวลอากาศร้อนปะทะมวลอากาศที่มีอุณหภูมิเย็น มวลอากาศร้อนลอยตัวสูงขึ้น
การเปลี่ยนสถานะของน้ำ
แรงดันน้ำ
เรานำความรู้เกี่ยวกับความดันของน้ำไปใช้ประโยชน์
เช่น การสร้างเขื่อน ต้องสร้างให้ฐานเขื่อนมีความกว้างมากกว่าสันเขื่อน
เพราะแรงดันของน้ำบริเวณฐานเขื่อนมากกว่าแรงดันของน้ำบริเวณสันเขื่อน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)